วันนี้เรามาทำการทดลองง่ายๆ กันครับ อุปกรณ์คือกระจกเงาและลูกกะ ตาของเรานี่แหละ ทุกคนทำได้นะครับ
พวกเราทราบกันใช่มั๊ยครับว่ าเวลาที่เรามองไปยังวัตถุใด ๆก็ตามแม้ว่ามันจะอยู่ใกล้ก ัน ลูกตาของเราก็จะมีการเคลื่อ นที่เพื่อปรับโฟกัสครับ
ทีนี้เรามาลองส่องกระจกกันด ู ให้ลองมองไปที่ตาข้างซ้ายขอ งเราในกระจก จากนั้นก็มองไปที่ตาข้างขวา และลองมองตาของตัวเองทีละข้ างสลับกันไปมาดูก็ได้ครับ จะพบว่าลูกกะตาของเรานั้นอย ู่นิ่งๆไม่ได้เคลื่อนไหวเลย ซักนิดเดียว
ทีนี้ลองยื่นกระจกให้เพื่อน
เกิดอะไรขึ้นล่ะ?
ไม่ได้หมายความว่าตาของเราไ ม่ยอมทำงาน แต่ที่จริงสมองของเราพยายาม ตัดภาพอยู่เกือบตลอดเวลา และปฏิเสธที่จะประมวลผลภาพเ หล่านั้น เมื่อใดก็ตามที่สายตาของเรา เคลื่อนย้ายไปมา ตามหลักแล้วมันจะทำให้เกิดภ าพเบลอ สมองจะไม่ประมวลผลภาพเหล่าน ั้น และเติมเต็มช่วงเวลานั้นด้ว ยภาพลวงตา เพื่อป้องกันไม่ให้เรามองเห ็นภาพเบลอจากการเคลื่อนไหวข องลูกตา
สมองของเราแทนที่ภาพเบลอด้ว ยภาพนิ่งของวัตถุต่อไปที่สา ยตาของเราโฟกัส ทำให้อะไรก็ตามที่เรามองเป็ นอันดับถัดไปหลังจากการเบนส ายตา จะอยู่นิ่งเป็นระยะเวลานานก ว่าที่ควรจะเป็น
ช่องว่างของช่วงเวลาเหล่านั ้นมันจะเสมือนกับเรามองไม่เ ห็นไปชั่วขณะ คือการมองเห็นจริงๆได้ถูกตั ดออกไปเลย ประเมินกันว่าในแต่ละวันเรา จะสูญเสียการมองเห็นไปรวมๆแ ล้วประมาณ 40 นาที
โดยทั่วไปแล้วเราเรียกภาพลว งตาที่มาเติมช่องว่างนี้ว่า "ภาพลวงตานาฬิกาตาย (stopped-clock illusion)" เพราะวินาทีแรกที่เราหันมาม องหน้าปัดนาฬิกา วินาทีนั้นจะเป็นวินาทีที่เ ข็มนาฬิกาอยู่นิ่งนานที่สุด นักวิทยาศาสตร์เรียกกลไกการ เติมช่องว่างนี้ว่า "Saccadic masking" ครับ